ลูกรักอยู่หลังลูกชังอยู่หน้า
หมายถึง รักลูกไม่เท่ากัน
ที่มา เวลาลิงเลี้ยงลูก "จะเอาลูกรักไว้ข้างหลัง เอาลูกชังไว้ข้างหน้า" ตัวที่อยู่ข้างหน้าย่อมถูกกิ่งไม้ทิ่มแทงแขนขาในเวลาผู้เป็นแม่โหนไปโน่นมานี่
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับลูกรักอยู่หลังลูกชังอยู่หน้า
หมายเหตุ
คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย
สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง
คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ